ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต - Presentation Transcript
- ผลสำำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพ ในการใช้งานอินเทอร์เน็ต กานต์ ยืนยง Siam Intelligence Unit Access : 28 April 2009
- Contents Background ● Poll result ● Analysis & Conclusion ●
- Background
- Poll results
- Overview เริ่มสำำรวจ กลางเดือนมกราคม ถึงปลายเดือนเมษายน 2552 จำำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม 974 คน ● เว็บไซต์ที่ร่วมทำำกิจกรรม : ประชาไท, SIU, บล็อกต่างๆ, เมลลิ่งลิสต์, ทวิตเตอร์
- Demographic
- การเข้าถึง
- ความจำำเป็นการใช้งานอินเทอร์เน็ต
- การใช้อินเทอร์เน็ตในงานด้านการเมือง
- ความเข้าใจ / ความสำำคัญ เรื่องสิทธิเสรีภาพ
- สถานการณ์สิทธิเสรีภาพในรัฐไทยปัจจุบัน
- การใส่ใจในสิทธิส่วนบุคคลออนไลน์
- ความเห็นสิทธิเสรีภาพในอินเทอร์เน็ตไทยปัจจุบัน (1)
- ผลกระทบทั้งด้านบวกและลบของพรบ.คอมพิวเตอร์
- ความพอใจต่อกฎหมายและการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่
- ความเห็นต่อการปิดกั้นเว็บไซต์้
- Analysis & Conclusion
- ปัญหาที่เกิดขึ้นมีที่มาจากการรัฐประหาร เป้าหมายเพื่อควบคุมการหมิ่นฯ และความผิดทางคอมพิวเตอร์ ี่ ่ ● จากแบบสอบถำม ผลการสำำรวจระบุว่า พรบ.คอมพิวเตอร์มีผลกระทบด้านลบมากกว่าด้านบวก, ไม่พอใจตัวกฎหมาย และการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่กระทรวงไอซีทีจะเป็นผ้้ Hack & Crack เสียเอง! ● การแยกปัญหาด้าน content ออกจากตัวกฎหมาย ● ผลักดันกฎหมาย พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ขึ้นมาถ่วงดุล ● ภาระในการสำำเนาข้อมูลจราจร ตกเป็นของฝั่งเอกชน ● ความเป็นไปได้ในเชิงปฏิบัติของการปิดกั้นเว็บไซต์ ●
- การขาดการเชื่อมโยงกับประชาชนวันที่ 15 พฤศจิกายน 2549 คณะรัฐมนตรี โดยนายสิทธิชัย โภไคยอุดม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (ไอซีที) ได้นำเสนอร่าง พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ว่าด้วยการกระทำาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.... ต่อที่ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ซึ่งในที่ประชุมได้มีการอภิปรายอย่างกว้างขวางซึ่งสมาชิกสนช.ส่วนใหญ่จะเห็นด้วย แต่แสดงความกังวลเรื่องความรัดกุมของถ้อยคำ ด้านนายสมเกียรติ อ่อนวิมลสงสัยวัตถุประสงค์เบื้องหลัง เพราะมีการควบคุมการแสดงความคิดเห็นและจำกัดสิทธิของประชาชน ในขณะที่นายสมชาย แสวงการ ได้แสดงความกังวลในเรื่องความพร้อมของเจ้าหน้าที่ รมว.ไอซีทีได้อธิบายถึงสาเหตุที่เร่งการพิจารณาพรบ.ฉบับนี เนื่องจาก พบว่ามีข้อร้องเรียนจากสาธารณวันหนึ่งๆ เป็นร้อยๆ ครั้ง เรื่องเว็บไซต์ ลามกอนาจาร ศิลปะและวัฒนธรรม ทำให้มีความร้อนใจว่า ในด้านสังคมจะต้องมีมาตรการไปช่วยทำาให้ดีขึ้น ประกอบกับทางด้านธุรกิจมีการร้องเรียนมากขึ้นเรื่อยๆ ว่า การล้วงข้อมูลความลับในคอมพิวเตอร์ต่างๆ เกิดมากขึ้นเรื่อย ๆ แต่ไม่มีกฎหมายไปควบคุม หรือเอาผิดได้เลย และ มีข้อความลงในเว็บไซต์หมิ่นพระบรมเดชานุภาพที่รุนแรงมากๆ ผู้ใดนำำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏเป็นภาพของผู้อื่นและภาพนั้นเป็นภาพที่เกิด ้ ้ ่ ้ ้ มาตรา ๑๕ ● จากการสร้างขึ้น ตัดต่อ เติม หรือดัดแปลงด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใด ทังนี้ โดยประการที่น่าจะทำำให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย ต้องระวางโทษ.... นายคำานูน สิทธิสมาน เห็นว่ำ หากมีการบัญญัติควำมผิดเช่นมาตรา ๑๕ นั้น หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ ในส่วนผู้จัดกวน ซึ่งมักตัดต่อภาพล้อเลียนนักการเมืองก็จะผิดไปด้วย ทั้งๆ อาจกล่าวได้ว่ำการล้อเลียนในลักษณะนั้น เป็นวิวัฒนาการใหม่ของการล้อการเมืองแบบใหม่ แม้การกระทำำดังกล่าวจะไม่ใช่ภาพโป๊ ก็ตาม
- ปัญหาจากกรณีพรบ.คอมพิวเตอร์ สุวิชา ท่าค้อ : มีความผิดตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 8, 9 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 33(1), 83,91 และ 112 และพระราชบัญญัติการกระทำำความ ผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 มาตรา 14(2) และ 16(1) เนื่องจากเป็นความผิดหลายบท ให้ลงโทษตามมาตราที่มีโทษสูงสุด และความที่จำำเลยกระทำำความผิด 2 กระทง ให้ตัดสินให้ลงโทษ กระทงละ 10 ปี รวม 20 ปี แต่จำำเลยให้การรับสารภาพ จึงลดโทษให้กระทงละ 5 ปี คงเหลือโทษจำำคุก 10 ปี ไม่รอลงอาญา และให้ริบของกลาง
- ปัญหาจากกรณีพรบ.คอมพิวเตอร์ อภิสิทธ์ิ เวชชาชีวะ ให้สัมภาษณ์กับ หนังสือพิมพ์ Financial Times : เหตุการณ์ ล่าสุดก็คือกรณีเว็บไซต์ประชาไท ซึ่งมีการจัดการผิดพลาดอย่างชัดเจน และมันก็เป็นเรื่องขัดแย้งกับนโยบายของผม มีการกระทำำบางอย่างที่ไม่ควรจะเป็นเกิดขึ้นในคดีนี้
- ปัญหาจากกรณีพรบ.คอมพิวเตอร์ เว็บไซต์กรุงเทพธุรกิจรายงานว่า แหล่งข่าวจากกระทรวงไอซีที ให้สัมภาษณ์ถึงการจัดการกับ ● เว็บไซต์ที่เข้าข่ายมีความผิดร้ายแรงว่า การแก้ไขปัญหาในเชิงกฎหมายสามารถดำำเนินการได้เฉพาะ กรณีในประเทศ แต่กรณีต่างประเทศ กระทรวงไอซีทีกำำลังเตรียมการโครงการแฮค แอนด์ แครก คือถ้าพบเว็บไซต์ที่มีความผิดร้ายแรง โดยเฉพาะการหมิ่นเบื้องสูง ซึ่งเป็นเรื่องที่กระทบกระเทือน จิตใจคนไทยทั้งประเทศ อาจใช้วิธการแฮคและลบข้อมูลในเว็บไซต์แห่งนั้น เพราะหากรอกระบวนการทางกฎหมาย อาจไม่ทันต่อเหตุการณ์ "การกระทำำลักษณะนี้อาจเข้าข่ายผิดกฎหมายอยู่บ้าง แต่บางครั้งก็ต้องยอมแลก ถ้าเป็นสิ่งที่ยอมรับไม่ได้จริงๆ" แหล่งข่าวระบุ มาตรา ๙ ผู้ใดทำำให้เสียหาย ทำำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น โดยมิชอบ ต้องระวางโทษจำำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาทหรือทั้งจำำทั้งปร้บ
- คดีที่ยังอยู่ในกระบวนการทางกฎหมาย ในฐานะผู้กระทำำความผิด ● ฟิน ● ครอบครัวมาเฟีย ● ผู้ต้องสงสัยว่าเป็น "บัฟฟาโล่บอย" ● พระยาพิชัย ● ท่อนจัน ● ในฐานะผู้ให้บริการ ● ประชาไท ● 212 cafe ●
- มาตรา 163 การมีส่วนร่วมโดยตรงของประชาชน
- ตัวอย่างข้อเสนอการแก้ไขกฎหมาย เน้นการกระทำำความผิดต่อข้อมูลในคอมพิวเตอร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์มากกว่าการใช้คอมพิวเตอร์ไปกระทำำความผิด (misuse) – มีกฎหมายอื่นรองรับอยู่แล้ว การแยกปัญหาด้าน content ออกจากตัวกฎหมาย ● ผลักดันกฎหมาย พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลเข้ามาถ่วงดุล ภาระในการสำำเนาข้อมูลจราจร ตกเป็นของฝั่งเอกชน ● ความเป็ นไปได้ในเชิงปฏิบัตของการปิดกั้นเว็บไซต์ ●
- ตัวอย่างการผลักดันกฎหมายจากภาคประชาชน กฎหมายหลักประกันสุขภาพ (รัฐบาลผลักดันเป็นนโยบาย 30 บาทรักษาทุกโรค) พรบ. การจัดทำำหนังสือสัญญาระหว่ำงประเทศ (คณะทำำงาน เสนอกฎหมายการจัดทำำสนธิสญญาระหว่างประเทศ) ั พรบ. องค์กรอิสระผู้บริโภค (ผลักดันโดยมูลนิธิเพื่อผู้บริโภค กำำลังเข้าสภา)
- ขั้นตอนการดำำเนินการเสนอแก้กฎหมาย
- END
http://www.slideshare.net/markpeak/ss-1366268